กองนวัตกรรมและวิจัย
Responsive image

ทุนสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

enlightenedทุนสนับสนุนงานเชิงกลยุทธ์ (Strategic Fund) : สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

ชื่อทุน ช่วงเวลาการขอรับทุน กรอบการวิจัย ประเด็นวิจัยของ กรมฯ

โครงการ e-ASIA Joint Research Program ประจำปี 2565 ประเด็นเรื่อง "โรคติดเชื้อ (Infectious Diseases)”

<<รายละเอียดเพิ่มเติม>>

21 ธ.ค.63 ถึง 29 มี.ค.64

 

สถานะ ปิดรับข้อเสนอโครงการ  

  1. การดื้อยาต้านจุลชีพ (AMR) และการดื้อยา (drug resistance) เช่น วัณโรคดื้อยาหลายขนาน รวมถึงนวัตกรรมในการเฝ้าระวังการดื้อยา (AMR) การวินิจฉัยและการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการดูแลยาต้านจุลชีพ
  2. การเตรียมความพร้อม และการรับมือกับโรคระบาด เช่น การเฝ้าระวัง การแทรกแซง การรับรู้และการป้องกันของประชาชน และการพัฒนาวัคซีน
  3. การแพรกแซง และมาตรการตอบโต้ที่ปรับให้เข้ากันบริบทของภูมิภาค ซึ่งหมายรวมถึงการดำเนินการ และวิธีการเพื่อทำความเข้าใจหรือจัดการกับผลกระทบทางเศรษฐกิจสังคม การศึกษา และผลกระทบระหว่างประเทศของ COVID-19
  4. ปฏิสัมพันธ์ระหว่างโรคติดเชื้อ และโรคที่เกิดขึ้นร่วม (Co - morbidites)
  5. การพัฒนาเทคโนโลยีขั้นสูง เช่น e-health , Telemedicine เทคโนโลยีเพื่อการเฝ้าระวัง และการพัฒนา Mapping Tool

ประเด็นวิจัยของกรม ฯ ที่สอดคล้องกับกรอบการวิจัยของแหล่งทุน

โครงการต้นแบบนักประดิษฐ์ไทยนักประดิษฐ์โลก ประจำปีงบประมาณ 2564

<<รายละเอียดเพิ่มเติม>>

บัดนี้ถึง 15 มี.ค.64

 

สถานะ ปิดรับข้อเสนอโครงการ

  1. ด้านอุตสาหกรรม
  2. ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
  3. ด้านการแพทย์และสุขภาพ
  4. ด้านอาหารและการเกษตร
  5. ด้านอุปกรณ์เครื่องใช้ในครัวเรือน (House hold devices)
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ติดต่อกองนวัตกรรมและวิจัย โทร. 0 2590 3175

การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อรองรับการระบาดของโรคโควิด-19 ประจำปีงบประมาณ 2565  

<<รายละเอียดเพิ่มเติม>>

บัดนี้ ถึง 16 ส.ค. 64

 

สถานะ ปิดรับข้อเสนอโครงการ

  1. การวิจัยเพื่อรองรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ของประเทศไทย
    กรณีที่ สถานการณ์การระบาดได้ขยายตัวไปทั่วโลก (pandemic) รวมทั้ง การเฝ้าระวัง
    ป้องกัน ควบคุมโรคในการ เดินทางระหว่างประเทศ และในกลุ่มแรงงานต่างด้าว
  2. การวิจัย และพัฒนาวิธีการรักษาใหม่ที่ช่วยลดอัตราป่วยตายและระยะเวลาในการพักรักษาตัว
    ของผู้ป่วยในโรงพยาบาล
  3. การใช้ปัญญาประดิษฐ์ วิทยาศาสตร์ข้อมูลและเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการเฝ้าระวัง วินิจฉัย
    สอบสวนและควบคุมการระบาดของโรคโควิด-19
  4. การพัฒนาชุดเวชภัณฑ์ อุปกรณ์ ชุดตรวจวินิจฉัย และเครื่องมือทางการแพทย์ เพื่อรองรับ
    ปัญหาวิกฤต และมีความเหมาะสมกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อการรองรับการระบาดในอนาคต
    และ รองรับปัญหาโรคอุบัติใหม่อื่นๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ โดยต้องมีการเชื่อมโยงกับหน่วยงานใช้ประโยชน์
    และถูก นำไปใช้หลังเสร็จสิ้นโครงการ
  5. การวิจัยและพัฒนาสารออกฤทธิ์จากสมุนไพรที่ใช้ป้องกันหรือรักษาโรคโควิด-19
    เพื่อเพิ่ม มูลค่าสมุนไพรไทยเพื่อนำมาใช้ทางการแพทย์
  6. การวิจัยและพัฒนาวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 (COVID-19) ที่พร้อมดำเนินการทดลองใน มนุษย์
    เพื่อรองรับสถานการณ์การระบาดที่สามารถนำไปปรับใช้ในการวิจัยพัฒนาวัคซีนได้ในภาวะฉุกเฉิน
  7. การวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้เพื่อพัฒนานโยบายและมาตรการด้านสาธารณสุข
    ในการแก้ปัญหาการติดเชื้อโรคโควิด-19 ที่มีประสิทธิภาพ
  8. การวิจัยเชิงนโยบายเพื่อลดผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคมและการศึกษา
    รวมถึงชีวิตความ เป็นอยู่ของประชาชน ที่เกิดขึ้นจากภาวะวิกฤตโควิด-19
    และการศึกษาผลสัมฤทธิ์ของนโยบายและมาตรการ ของรัฐต่อประชาชนทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคม
  9. การวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างความเข้มแข็ง และความยั่งยืนทางเศรษฐกิจต่อแรงงานที่เคลื่อนย้ายกลับสู่ท้องถิ่น
    และแรงงานที่ต้องหางานใหม่
  10. การพัฒนาความเข้มแข็งของกลไกการแก้ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19
    รวมทั้ง โรคติดต่ออุบัติใหม่เชิงพื้นที่ เช่น บทบาทของ อสม. อบต. และคณะกรรมการโรคติดต่อระดับจังหวัด
  11. การวิจัยโครงสร้างทะเบียนแรงงานแห่งชาติ เพื่อรองรับมาตรการเยียวยาแรงงานทั้งในและ นอกระบบ
    รวมถึงแรงงานต่างด้าวให้ทั่วถึง
  12. การวิจัยต้นแบบการบริหารจัดการเศรษฐกิจชุมชนในท้องถิ่น (National e-commerce platform) 
    เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจฐานรากและลดการไหลออกของเงินตรงไปต่างประเทศ
    การวิจัยและพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศสำหรับจัดการ COVID – 19
    และรองรับ โรคอุบัติการณ์ใหม่ในอุดมคติ
  13. การวิจัยและพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนเพื่อบริหารจัดการ COVID – 19 และรองรับโรคอุบัติการณ์ใหม่

ประเด็นวิจัยของกรม ฯ ที่สอดคล้องกับกรอบการวิจัยของแหล่งทุน

<< กลับหน้าหลัก  : หน้าถัดไป >>