กองระบาดวิทยา
Responsive image

การพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ..เป็นปัญหาที่พบบ่อย

<ul> <li>ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยโดยสมบูรณ์หรือมีประชากรผู้สูงอายุ ร้อยละ 20 ในปี พ.ศ. 2564 ในทุก ๆ ปี มีผู้สูงอายุ 1 ใน 3 หรือมากกว่า 3 ล้านคน ประสบเหตุพลัดตกหกล้ม</li> </ul> <ul> <li>สาเหตุส่วนใหญ่มาจากการลื่น สะดุด หรือก้าวพลาดบนพื้นระดับเดียวกัน มากถึงร้อยละ 66 และมีเพียงร้อยละ 5.6 เกิดจาการตกหรือล้มจากบันไดและขั้นบันได</li> </ul> <ul> <li>50&nbsp;%&nbsp;ของผู้เสียชีวิตจากการพลัดตกหกล้ม เป็นผู้สูงอายุ เพศชาย มีอัตราการเสียชีวิตสูงกว่าเพศหญิงกว่า 3 เท่า</li> </ul> <ul> <li>ความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม เพิ่มสุงขึ้นตามอายุ และเป็นสาเหตุอันดับ 1 ของผู้ป่วยใน</li> </ul> <ul> <li>ร่วมกันทำ ป้องกันได้&nbsp;:<br /> <br /> &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ผู้สูงอายุหรือคนในครอบครัว&nbsp;:&nbsp;สำรวจสิ่งแวดล้อมหรือจุดเสี่ยงภายในบ้าน และบริเวณบ้าน พร้อมปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุ เช่น พื้นทางเดิน ห้องน้ำ ห้องนอน ฯลฯ<br /> <br /> &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; เจ้าหน้าที่หรือบุคลากรสาธารณสุข&nbsp;:&nbsp;ให้ความรู้เรื่องปัจจัยเสี่ยง และแนวทางการป้องกันการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ,&nbsp;สอบสวนหาสาเหตุของการพลัดตกหกล้มที่บาดเจ็บในผู้สูงอายุทุกราย ฯลฯ</li> </ul> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และชุมชน&nbsp;:&nbsp;สนับสนุนกิจกรรมหรือโครงการการป้องกันการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน เช่น การออกกำลังกายแบบไทเก็ก โยคะ การรำมวยจีน การเดิน ว่ายน้ำ ฯลฯ</p>

ดาวน์โหลดเอกสาร
วารสารออนไลน์อื่นๆ